วันอังคารที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2565

TUKTA Model นวัตกรรมการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยตามสถานการณ์

นวัตกรรมการบริหารจัดการศึกษาระดับปฐมวัย 

TUKTA Model  นวัตกรรมการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยตามสถานการณ์

 T - Target & Tool           การวางแผนกำหนดเป้าหมายและการเลือกใช้เครื่องมือ

          ในการจัดประสบการณ์

U - Understanding   กระบวนจัดประสบการณ์สร้างความรู้ความเข้าใจที่คงทน

K - Knowledge: Learning through Play การสร้างความรู้ด้วยวิธีการเรียนปนเล่นเป็นความรู้ 

T = Teamwork & Technology  การทำงานเป็นทีมการใช้เทคโนโลยีสร้างเครือข่ายครูและ

         ผู้ปกครอง ผู้บริหารนิเทศชี้แนะ

A - After Action Review  การสะท้อนผลการจัดประสบการณ์เพื่อปรับปรุงพัฒนา

        และรายงานผล

การบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยตามสถานการณ์ ด้วยวงจรคุณภาพ PDCA ดังนี้

1. ประชุมครูผู้สอนระดับปฐมวัยเพื่อเตรียมความพร้อมกำหนดรูปแบบและแนวทาง

2. การวางแผนกำหนดเป้าหมายและการเลือกใช้เครื่องมือในการจัดประสบการณ์ 

3. กระบวนจัดประสบการณ์สร้างความรู้ความเข้าใจที่คงทน  

4. การสร้างความรู้ด้วยวิธีการเรียนปนเล่นเป็นความรู้ 

5. การทำ PLC ทีมครูปฐมวัย แลกเปลี่ยนความรู้ 

6. สร้างเครือข่ายครูและผู้ปกครอง ด้วยวิธีการที่หลากหลาย 

7. กระบวนการนิเทศ

8. สรุปผลการดำเนินกิจกรรม 

9. การสะท้อนผล

       จากแนวทางการบริหารจัดการตามตามสถานการณ์ รูปแบบ TUKTA Model  การบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยตามสถานการณ์ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ดี เก่ง มีสุข มีความรู้คู่คุณธรรม เด็กได้รับการพัฒนาด้านร่างกายอารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา ใช้แนวคิดการบริหารตามสถานการณ์ (The Contingency Approach) เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่ป้องกันการเรียนรู้ถดถอย และปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)

การจัดประสบการณ์แบบ online

การจัดประสบการณ์แบบ online